ข้อมูลงานวิจัย

รูป :
ประเภท :
กายภาพและสิ่งแวดล้อมกายภาพ
หมวดหมู่ :
หัวข้องานงานวิจัย (Eng) :
Integrative measures of soil quality: investigating rehabilitative effects of planting Acacia auriculiformis on degraded agricultural lands in Sakaerat, Nakhon Rachasima province, Thailand.
หัวข้องานงานวิจัย (ไทย) :
มาตรการเชิงบูรณาการด้านคุณภาพดิน: การตรวจสอบผลการฟื้นฟูของการปลูกกระถินณรงค์ต่อพื้นที่เกษตรกรรมเสื่อมโทรมในสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
ชื่อแหล่งเผยแพร่:
Final report submetted to the National Research Council
เอกสาร:
ภาษาอังกฤษ
พื้นที่ศึกษา :
Sakaerat Environmental Research Station (SERS)
ปี ค.ศ./พ.ศ. :
2007/2550
ช่วงเวลางานวิจัย (เริ่ม-สิ้นสุด) :
2005-2006
ผลลัพธ์การวิจัย :
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
ลักษณะของเอกสาร :
ฉบับสมบูรณ์
ประเภทงานวิจัย :
กายภาพและสิ่งแวดล้อมกายภาพ

ชื่อสถาบัน/หน่วยงาน :
Asian Institute of Technology
ชื่อหน่วยงานความร่วมมือ :
The National Research Council
ชื่อหน่วยงานผู้ให้ทุน :

วัตถุประสงค์งานวิจัย :
To compared multivariate data sets on biotic and abiotic soil characteristics in describing a land degradation-rehabilitation gradient in Sakaerat, Nakhon Ratchasima province, Thailand.

Keywords :
Soil quality, Acacia auriculiformis, Agricultural lands
บทคัดย่อ :
This research compared multivariate data sets on biotic and abiotic soil characteristics in describing a land degradation-rehabilitation gradient in Sakaerat, Nakhon Ratchasima province, Thailand. The gradient was represented by dry evergreen forest (natural vegetative type), bare ground (most degraded) and Acacia auriculiformis plantation plot (rehabilitation plot). Soils were taken from the forests and the bare ground. The soils were sampled between September 2005 and February 2006. The degradation gradient was consistently described by a variation od soil dehydrogenase activity. We obtained multivariate profiles of the soils, then constructed data sets on physico-chemical, bacteria, soil color and plant growth characteristics. We reconizeed few unimodal response patterns against the gradient while linear response patterns were dominant. The bacteria data sets had relatively more complex structures than the others. The comparison suggested interactions among the deforestation/ rehabilitation and soil biotic and a biotic conditions. Applicability of biotic and abiotic multivariate data sets in land conservation practices was discussed. รายงานฉบับนี้เปรียบเทียบชุดข้อมูลหลายตัวแปรของลักษณะดินจากการกระทำของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในการอธิบายเกรเดียนท์การทำลายและการฟื้นฟูดินในสะแกราช จังหวักนครราชสีมา ประเทศไทย ตัวแทนเกรเดียนท์ คือ ป่าดิบแล้ง (ประเภทที่ขี้นโดยธรรมชาติ) ที่ดินแผ้วถาง (ถูกทำลายโดยส่วนใหญ่) และป่าปลูก Acacia auriculiformis (แปลงที่ฟื้นฟูขึ้น) ดินที่ถูกนำมาจากป่าดิบแล้ง ป่าปลูก และที่ดินแผ้วถาง ตัวอย่างดินถูกเก็บมาระหว่างเดือนกันยายน 2548 และกุมภาพันธ์ 2549 เกรเดียนท์การทำลายถูกอธิบายอย่างสอดคล้องโดยการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรม dehydrogenase (การดึงไฮโดรเจนออก) จากดินแล้วสร้างชุดข้อมูลทางเคมีทางแบคทีเรีย สีของดินและลักษณะการเจริญเติบโตของพืช เราตระหนักว่ามีสองสามแบบแผนการตอบสนองที่มีเพียงโหมดเดียวต่อเกรเดียนท์ซึ่งรูปแบบการตอบสนองแบบเชิงเส้นนั้นมีความสำคัญมากที่สุด ชุดข้อมูลทางแบคทีเรียค่อนข้างมีโครงสร้างที่ซับซ้อนกว่าเรื่องอื่นๆ จากการเปรียบเทียบแสดงปฏิกิริยาระหว่างการทำลายป่าดิบ/การฟื้นฟูและดินจากการกระทำของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตนั้น ชุดข้อมูลหลายตัวแปรจากการกระทำของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในการอนุรักษ์ดินที่มีความเหมาะสม
เอกสารอ้างอิง :
Doi & Ranamukhaarachchi (2007) Integrative measures of soil quality: investigating rehabilitative effects of planting Acacia auriculiformis on degraded agricultural lands in Sakaerat, Nakhon Rachasima province, Thailand. Final report submetted to the National Research Council

ไฟล์แนบงานวิจัย :

รูปภาพประกอบ :

สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง

ลำดับ รูป ชื่อวิทยาศาสตร์ ไฟลัม ชั้น อันดับ วงศ์ สกุล



สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (สสส.)
Sakaerat Environmental Research Station
Sakaerat Biosphere Reserve.


  • 1 หมู่ 9 ต.อุดมทรัพย์ อ.วังน้ำเขียว
    จ.นครราชสีมา 30370 ประเทศไทย


  • 09 8219 5570, 06 1102 1707


  • sakaerat@tistr.or.th



Copyright © 2024, All Right Reserved.