Keywords :
Snake; Diversity
บทคัดย่อ :
We assessed snake diversity of dry evergreen forest, dry dipterocarp forest and forest plantation in Sakaerat Environmental Research Station, Nakhon Ratchasima, Thailand, using 12 drift fences equipped with 30 double funnel traps. We opened the traps for 7 consecutive days, 16 times from May 2012 to September 2013. A total of 40 species were caught with 231 captures recorded. Dry dipterocarp forest accounted for 44.80% (101 individuals) of the captures, followed by plantation forest with 30.8% (74 individuals) and lastly dry evergreen forest with 24.4% (56 individuals). We captured the most species (25 species) in dry dipterocarp forest, followed by forest plantation (24 species) and dry evergreen forest (22 species). The most abundant snake was Gongylosoma scripta (20 captures), followed by Psammodynastes pulverulentus (18 captures) and Oligodon fasciolatus (16 captures), respectively. In addition, we identified 23 species found in 3 forest types and 17 species that were specialists and found only in a single forest type. Despite capturing a wide range of species, forest plantation held only 3 unique species compared to dry dipterocarp and dry evergreen forests which had 10 and 4 unique species, respectively. The results indicate that plantation forests may provide suitable habitat for a wide range of snake species, but do not necessarily support a number of specialist species
จากการศึกษาความหลากหลายของงูในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และป่าปลูก ในสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแก ราช จังหวัดนครราชสีมา ด้วยการสร้างแนวรั้ว จำนวน 12 แห่ง พร้อมติดตั้งกับดักแบบกรวย จำนวน 30 อันในแต่ ละแห่ง ทำการเปิดกับดัก 7 วันติดต่อกัน จำนวน 16 ครั้ง ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 ถึงกันยายน พ.ศ. 2556 ผลการศึกษาพบงูจำนวน 40 ชนิดจากการจับทั้งหมด 231 ตัว ป่าเต็งรังเป็นป่าที่พบงูจำนวนมากที่สุด (101 ตัว) คิดเป็นร้อยละ 44.8 ของงูที่จับได้ทั้งหมด รองลงมาคือป่าปลูก (74 ตัว) คิดเป็น ร้อยละ 30.8 และป่าดิบแล้ง (56 ตัว) คิดเป็นร้อยละ 24.4 ตามลำดับ นอกจากนี้ป่าเต็งรังยังเป็นป่าที่พบจำนวนชนิดของงูมากที่สุด (25 ชนิด) รองลงมาคือป่าปลูก (24 ชนิด) และป่าดิบแล้ง (22 ชนิด) ชนิดของงูที่พบมากที่สุดคือ งูสายทองคอแหวน (Gongylosoma scripta) 20 ตัว งูหมอก (Psammodynastes pulverulentus) 18 ตัว และงูปีแก้วลายแต้ม (Oligodon fasciolatus) 16 ตัว ทั้งนี้พบงู 23 ชนิดในป่าทั้ง 3 ประเภท ขณะที่อีก 17 ชนิดพบเฉพาะในป่า ประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านั้น โดยในป่าปลูกพบงูเฉพาะถิ่นเพียง 3 ชนิด เมื่อเทียบกับ 10 ชนิดในป่าเต็งรังและ 4 ชนิดในป่าดิบแล้ง เฉพาะถิ่นมากนัก แสดงให้เห็นว่าแม้ป่าปลูกจะพบงูหลากหลายชนิดแต่พื้นที่ป่าไม่มีลักษณะพิเศษที่จะสนับสนุนงู
เอกสารอ้างอิง :
Strine, C., Crane, M, Serrano, F., Artchaakom, T., & Suwanaree (2015b) Snake Diversity in Natural Forest and Forest Plantation in Sakaerat Environmental Research Station, Nakhon Ratchasima. การประชุมครั้งที่ 5 อนุกรมวิธานและซิสเทมาติคส์ในประเทศไทย