ข้อมูลงานวิจัย

รูป :
ประเภท :
สัตว์
หมวดหมู่ :
หัวข้องานงานวิจัย (Eng) :
A Study of Siamese Fireback Lophura diardi by using Camera Traps
หัวข้องานงานวิจัย (ไทย) :
การศึกษาไก่ฟ้าพญาลอ (Siamese fireback, Lophura diardi) โดยกล้องดักถ่ายภาพ
ชื่อแหล่งเผยแพร่:
Thailand Wildlife SeminarAt: Kasetsart University
เอกสาร:
ภาษาอังกฤษ
พื้นที่ศึกษา :
Dry Dipterocarp Forest; Dry Evergreen Forest; Plantation
ปี ค.ศ./พ.ศ. :
2010/2553
ช่วงเวลางานวิจัย (เริ่ม-สิ้นสุด) :
ผลลัพธ์การวิจัย :
บทคัดย่อในงานประชุมวิชาการ
ลักษณะของเอกสาร :
ฉบับบทคัดย่อ
ประเภทงานวิจัย :
สัตว์ป่า

ชื่อสถาบัน/หน่วยงาน :
School of Biology, Institute of Science, Suranaree University of Technology
Sakaerat Environmental Research Station
Conservation Ecology Program, King Mongkut s University of Technology Thonburi
ชื่อหน่วยงานความร่วมมือ :
ชื่อหน่วยงานผู้ให้ทุน :

วัตถุประสงค์งานวิจัย :
To estimate Siamese population

Keywords :
camera traps; Lophura diardi; Sakaerat Environmental Research Station; Siamese fireback
บทคัดย่อ :
We assessed the effectiveness of camera traps used to monitor the population and distribution of Siamese fireback in Sakaerat Environmental Research Station, Nakhon Ratchasima. Camera-traps were installed at 46 survey points, 700 m apart, spread over 18 km 2 of the study area, 14 days/location, between February and April 2010. Total of 622 trap-nights were accumulated (13.5(+-)1.5 day/trap) and 86 independent Siamese firebacks detections were obtained from 25 locations. We obtained a naive estimate of occupancy of 0.56 and estimate of occupancy of 0.69 ((+-)0.10) while the probability of detection was 0.29 ((+-)0.05). The Royle -Nichols model gave the average abundance/sample unit of 1.48 ((+-)0.62) with the total abundance of 68.20 ((+-)28.41). While the Royle count data model presented the average abundance/sample unit of 2.39 ((+-)0.0.40) with the total abundance of 110.16 ((+-)18.60).

กล้องดักถ่ายภาพถูกนํามาใช้ประเมินประชากรและการแพร่กระจายของไก่ฟ้าพญาลอในสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา กล้องดักถ่ายภาพถูกติดตั้งในพื้นที่ 46 จุด ห่างกัน700 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ศึกษามากกว่า18 ตารางกิโลเมตร ทิ้งกล้องไว้เป็นเวลา 14 วันต่อจุดสํารวจ ระหวางเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 เวลาสํารวจรวม 622 คืน (13.5(+-)1.5 วัน/กบดัก) พบไก่ฟ้า 86 ครั้งที่เป็นอิสระจากกนั จาก 25 จุดสํารวจค่า naive estimate of occupancy เท่ากับ 0.56 และค่า estimate of occupancy เท่ากับ 0.69 ((+-)0.10) ขณะที่ความเป็ นไปได้ในการตรวจจับเท่ากับ 0.29 ((+-)0.05) แบบจําลอง Royle - Nichols model ให้ค่าความชุกชุมเฉลี่ยต่อพื้นที่เท่ากับ 1.48 ((+-)0.62) ขณะที่ค่าความชุกชุม รวมเท่ากับ 68.20 ((+-)28.41) ส่วนแบบจําลอง Royle count data ให้ค่าความชุกชุมเฉลี่ยต่อพื้นที่เท่ากับ 2.39 ((+-)0.0.40) และค่าความชุกชุมรวมเท่ากับ 110.16 ((+-)18.60)
เอกสารอ้างอิง :
Suwanrat, J., Artchawakom, T., Sukumal, N., Ngoprasert, D., Savini, T., & Suwanwaree, P. (2010) A Study of Siamese Fireback Lophura diardi by using Camera Traps. Conference: The 31th Thailand Wildlife SeminarAt: Kasetsart University, Bangkok, Thailand.

ไฟล์แนบงานวิจัย :

รูปภาพประกอบ :

สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง

ลำดับ รูป ชื่อวิทยาศาสตร์ ไฟลัม ชั้น อันดับ วงศ์ สกุล
1Card imageLonchura striataChordataAvesPasseriformesEstrildidaeLonchura



สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (สสส.)
Sakaerat Environmental Research Station
Sakaerat Biosphere Reserve.


  • 1 หมู่ 9 ต.อุดมทรัพย์ อ.วังน้ำเขียว
    จ.นครราชสีมา 30370 ประเทศไทย


  • 09 8219 5570, 06 1102 1707


  • sakaerat@tistr.or.th



Copyright © 2024, All Right Reserved.