ข้อมูลงานวิจัย

รูป :
ประเภท :
สัตว์
หมวดหมู่ :
หัวข้องานงานวิจัย (Eng) :
Movement and home range of green pit vipers (Trimeresurus spp.) in a rural landscape in north-east Thailand.
หัวข้องานงานวิจัย (ไทย) :
การเคลื่อนที่และพื้นที่หากินของงูเขียวหางไหม้ (Trimeresurus spp.) ในพื้นที่ชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
ชื่อแหล่งเผยแพร่:
Herpetological Bulletin
เอกสาร:
ภาษาอังกฤษ
พื้นที่ศึกษา :
Villages
ปี ค.ศ./พ.ศ. :
2017/2560
ช่วงเวลางานวิจัย (เริ่ม-สิ้นสุด) :
2015-2017
ผลลัพธ์การวิจัย :
บทความ
ลักษณะของเอกสาร :
ฉบับสมบูรณ์
ประเภทงานวิจัย :
สัตว์ป่า

ชื่อสถาบัน/หน่วยงาน :
Suranaree University of Technology
ชื่อหน่วยงานความร่วมมือ :
Sakaerat Environmental Research Station
Thailand Institute of Scientific and Technological Research
ชื่อหน่วยงานผู้ให้ทุน :
Suranaree University of Technology

วัตถุประสงค์งานวิจัย :
To describe the spatial ecology of 2 green pit viper species

Keywords :
Movement; Home range; Green pit vipers (Trimeresurus spp.)
บทคัดย่อ :
Hospital records indicate that green pit vipers (Trimeresurus spp.) inflict the highest number of venomous snakebites of any snake group in the Nakhon Ratchasima, Pak Thong Chai, and Wang Nam Khieo rural regions of north-east Thailand, causing debilitating injuries and, subsequently, negative perceptions of these species. We utilised radio telemetry to assess male and female Trimeresurus albolabris and T. macrops movements and home ranges in rural portions of the the Sakaerat Biosphere Reserve in north-east Thailand from October 2015 through January 2017. Green pit vipers of both species were tracked for a mean of 97.6 (+-) 15 days. They moved a mean distance of 26.3 (+-) 3.32 meters between locations and exhibited mean minimum convex polygon home ranges of 0.14 (+-) 0.043 hectares. Big-eyed green pit vipers (T. macrops) differed in movement patterns and home range size by sex and fecundity, although not statistically so. Understanding green pit viper space use will aid in future conservation andsnakebite mitigation efforts for this interesting but severely understudied group.

บันทึกของโรงพยาบาลระบุว่างูเขียวหางไหม้ (Trimeresurus spp.) เป็นงูพิษที่กัดคนมากที่สุดในบรรดางูทั้งหมดในอำเภอปักธงชัย และวังน้ำเขียว ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งอาการบาดเจ็บที่ทรมาน ทำให้ประชาชนมีทัศนคติเชิงลบต่อสายพันธุ์นี้ ดังนั้นจึงได้ใช้วิธีการติดตามด้วยวิทยุเพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวและขอบเขตพื้นที่หากินของงูเขียวหางไหม้ชนิด Trimeresurus albolabris และ T. macrops ทั้งเพศผู้และเพศเมีย ในพื้นที่ชนบทของเขตสงวนชีวมณฑลสะแกราชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2015 ถึงเดือนมกราคม 2017 งูเขียวหางไหม้ทั้งสองสายพันธุ์ถูกติดตามเฉลี่ย 97.6 (+-) 15 วัน โดยเคลื่อนที่เฉลี่ยระยะทาง 26.3 (+-) 3.32 เมตรระหว่างตำแหน่งที่พบ และมีพื้นที่หากินขั้นต่ำเฉลี่ย 0.14 (+-) 0.043 เฮกตาร์ งูเขียวหางไหม้ตาโต (T. macrops) แสดงรูปแบบการเคลื่อนไหวและขนาดพื้นที่หากินที่แตกต่างกันตามเพศและความสามารถในการวางไข่ แม้จะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่การเข้าใจการใช้พื้นที่ของงูเขียวหางไหม้จะช่วยในงานอนุรักษ์และการลดความเสี่ยงจากการถูกงูกัดในอนาคตสำหรับกลุ่มงูที่น่าสนใจแต่ยังขาดการศึกษานี้
เอกสารอ้างอิง :
Barnes, C. H., Strine, C. T., Suwanwaree, P., & Hill Iii, J. G. (2017). Movement and home range of green pit vipers (Trimeresurus spp.) in a rural landscape in north-east Thailand. Herpetological Bulletin, (142).

ไฟล์แนบงานวิจัย :

รูปภาพประกอบ :

สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง

ลำดับ รูป ชื่อวิทยาศาสตร์ ไฟลัม ชั้น อันดับ วงศ์ สกุล
1Card imageTrimeresurus albolabrisChordataReptiliaSquamataViperidaeTrimeresurus
2Card imageTrimeresurus popeiorumChordataReptiliaSquamataViperidaeTrimeresurus



สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (สสส.)
Sakaerat Environmental Research Station
Sakaerat Biosphere Reserve.


  • 1 หมู่ 9 ต.อุดมทรัพย์ อ.วังน้ำเขียว
    จ.นครราชสีมา 30370 ประเทศไทย


  • 09 8219 5570, 06 1102 1707


  • sakaerat@tistr.or.th



Copyright © 2024, All Right Reserved.