ข้อมูลงานวิจัย

รูป :
ประเภท :
สัตว์
หมวดหมู่ :
หัวข้องานงานวิจัย (Eng) :
Are the habitat niches of female green pit vipers Cryptelytrops macrops and Viridovipera vogeli partitioned by vertical stratification?.
หัวข้องานงานวิจัย (ไทย) :
ถิ่นที่อยู่อาศัยของงูเขียวหางไหม้เพศเมีย Cryptelytrops macrops และ Viridovipera vogeli ถูกแบ่งระดับตามความสูงหรือไม่?
ชื่อแหล่งเผยแพร่:
Herpetological Bulletin
เอกสาร:
ภาษาอังกฤษ
พื้นที่ศึกษา :
Dry Evergreen Forest
ปี ค.ศ./พ.ศ. :
2019/2562
ช่วงเวลางานวิจัย (เริ่ม-สิ้นสุด) :
2014-2015
ผลลัพธ์การวิจัย :
บทความ
ลักษณะของเอกสาร :
ฉบับสมบูรณ์
ประเภทงานวิจัย :
สัตว์ป่า

ชื่อสถาบัน/หน่วยงาน :
Suranaree University of Technology
ชื่อหน่วยงานความร่วมมือ :
Sakaerat Environmental Research Station
Thailand Institute of Scientific and Technological Research
ชื่อหน่วยงานผู้ให้ทุน :
Thailand Institute of Scientific and Technological Research

วัตถุประสงค์งานวิจัย :
To present a telemetry study of females of the two viper species giving preliminary evidence of home range sizes, movement patterns and vertical niche partitioning.

Keywords :
Green Pit Viper; Habitat niches
บทคัดย่อ :
We used telemetry to track the movements of the females of two sympatric green pit viper species, Cryptelytrops macrops and Viridovipera vogeli, in north-eastern Thailand. This has generated information on their home ranges, lengths of displacements, and vertical niche partitioning. Five female vipers were tracked simultaneously within the same general habitat for 78 days in the cold, dry season for a mean of 113.6 (+-) 5.38 (range: 101 - 129) fixes. The data show that V. vogeli had larger home ranges and greater displacements than C. macrops (0.49 (+-) 0.02 and 0.26 (+-) 0.07 ha, 38.01 (+-) 9.72 and 25.12 (+-) 2.40 m; respectively). Interestingly, V. vogeli selected arboreal sites significantly more frequently than sympatric C. macrops. We cautiously suggest that vertical stratification of these two sympatric vipers may be one factor facilitating the co-existence of otherwise morphologically similar species.

ใช้การติดตามด้วยวิทยุเพื่อติดตามการเคลื่อนไหวของงูเขียวหางไหม้เพศเมียสองชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน คือ Cryptelytrops macrops และ Viridovipera vogeli ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ข้อมูลที่ได้รวมถึงขอบเขตพื้นที่หากิน ระยะทางที่เคลื่อนที่ และการแบ่งแยกระดับชั้นในแนวตั้ง งูหางไหม้เพศเมียจำนวน 5 ตัวถูกติดตามพร้อมกันในสภาพแวดล้อมเดียวกันเป็นเวลา 78 วันในฤดูหนาวที่แห้งและเย็น โดยมีการบันทึกตำแหน่งเฉลี่ย 113.6 (+-) 5.38 ครั้ง (ช่วง 101 - 129 ครั้ง) ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า V. vogeli มีขอบเขตพื้นที่หากินและระยะทางเคลื่อนที่ที่กว้างกว่า C. macrops (เฉลี่ย 0.49 (+-) 0.02 และ 0.26 (+-) 0.07 เฮกตาร์; ระยะทาง 38.01 (+-) 9.72 และ 25.12 (+-) 2.40 เมตร ตามลำดับ) ที่น่าสนใจคือ V. vogeli เลือกสถานที่บนต้นไม้บ่อยกว่าที่พบใน C. macrops ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน จากการศึกษาจึงขอเสนอแนะอย่างระมัดระวังว่าการแบ่งแยกระดับชั้นในแนวตั้งของงูหางไหม้ทั้งสองชนิดนี้ อาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้ชนิดที่มีลักษณะทางกายภาพคล้ายกันสามารถอาศัยอยู่ร่วมกันได้
เอกสารอ้างอิง :
Barnes, C., Farren, W., Strine, C., Hill, J., Waengsothorn, S., & Suwanwaree, P. (2019). Are the habitat niches of female green pit vipers Cryptelytrops macrops and Viridovipera vogeli partitioned by vertical stratification?. Herpetological Bulletin, (149).

ไฟล์แนบงานวิจัย :

รูปภาพประกอบ :

สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง

ลำดับ รูป ชื่อวิทยาศาสตร์ ไฟลัม ชั้น อันดับ วงศ์ สกุล
1Card imageTrimeresurus popeiorumChordataReptiliaSquamataViperidaeTrimeresurus
2Card imageTrimeresurus popeiorumChordataReptiliaSquamataViperidaeTrimeresurus



สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (สสส.)
Sakaerat Environmental Research Station
Sakaerat Biosphere Reserve.


  • 1 หมู่ 9 ต.อุดมทรัพย์ อ.วังน้ำเขียว
    จ.นครราชสีมา 30370 ประเทศไทย


  • 09 8219 5570, 06 1102 1707


  • sakaerat@tistr.or.th



Copyright © 2024, All Right Reserved.